1. การใช้บัตรประจำตัวประชาชน
2. การใช้บัตรประจำตัวสมาชิกประกันภัยกลุ่มออกโดย บริษัท อลิอันซ์ อยุธยา ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)
3. การไม่ใช้บัตรประจำตัวสมาชิกประกันภัยกลุ่ม (สำรองเงินจ่ายไปก่อน)
โปรดอ่าน ด้วยคุกกี้ทำให้เรามั่นใจได้ว่าคุณจะได้รับประสบการณ์ที่ดีที่สุดบนเว็บไซต์ของเรา คุกกี้ที่เปิดใช้งาน จะมีคุณสมบัติต่างๆ เช่น การโต้ตอบของสื่อโซเชียลข้อความที่ปรับให้เป็นส่วนตัวและให้การวิเคราะห์หากต้องการ อ่านคำชี้แจงเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
แผนประกันแนะนำ
แผนพรีเมี่ยม คุ้มครอง 50-100 ล้านขึ้นไป
แผนมาตรฐาน คุ้มครอง 10-50 ล้าน
แผนสุดคุ้ม คุ้มครองไม่เกิน 5 ล้าน
แผนประกันแนะนำ
ฉันกำลังมองหา...
บริการช่วยเหลือฉุกเฉิน
บริการด้านสุขภาพ
บริการแนะนำ
บริการออนไลน์
บริการพบแพทย์ออนไลน์ (Telemedicine)
บริการอื่นๆ
แผนประกันแนะนำ
แผนพรีเมี่ยม คุ้มครอง 50-100 ล้านขึ้นไป
แผนมาตรฐาน คุ้มครอง 10-50 ล้าน
แผนสุดคุ้ม คุ้มครองไม่เกิน 5 ล้าน
แผนประกันแนะนำ
ฉันกำลังมองหา...
บริการช่วยเหลือฉุกเฉิน
บริการด้านสุขภาพ
บริการแนะนำ
บริการออนไลน์
บริการพบแพทย์ออนไลน์ (Telemedicine)
บริการอื่นๆ
1. การใช้บัตรประจำตัวประชาชน
2. การใช้บัตรประจำตัวสมาชิกประกันภัยกลุ่มออกโดย บริษัท อลิอันซ์ อยุธยา ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)
3. การไม่ใช้บัตรประจำตัวสมาชิกประกันภัยกลุ่ม (สำรองเงินจ่ายไปก่อน)
บัตรประจำตัวสมาชิกประกันภัยกลุ่ม ที่ออกให้โดย บริษัท อลิอันซ์ อยุธยา สามารถเข้ารับบริการจากสถานพยาบาลที่บริษัทฯ ได้ทำสัญญาไว้เท่านั้น สามารถตรวจสอบโรงพยาบาลในเครือ อลิอันซ์ อยุธยา คลิก และสามารถใช้ได้ทั้งกรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลในฐานะผู้ป่วยใน (IPD) และผู้ป่วยนอก (OPD) ของโรงพยาบาล โดยใช้ร่วมกับบัตรที่ทางราชการออกให้ เช่น บัตรประจำตัวประชาชน หรือใบขับขี่ โดยไม่ต้องสำรองจ่าย (ท่านอาจต้องสำรองจ่าย ในกรณีที่บริษัทต้องตรวจสอบสภาพที่เป็นมาก่อนการเอาประกันภัย) ในกรณีที่ไม่มีบัตรประจำตัวสมาชิกประกันภัยกลุ่ม สามารถใช้บัตรสมาชิกประกันภัยกลุ่มดิจิทัล ผ่านแอปพลิเคชัน
My Allianz รู้จัก และดาวน์โหลดแอป คลิก
ขั้นตอนการใช้บัตรประจำตัวสมาชิกประกันภัยกลุ่ม
พนักงานสามารถเข้ารับการรักษาพยาบาล ตามแผนประกันสุขภาพกลุ่ม ที่ได้รับความคุ้มครองได้ตามสถานพยาบาลที่ถูกต้องตามกฏหมาย ทุกแห่งทั่วประเทศ ทั้งของรัฐบาล และเอกชน โดยจะต้องสำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน และนำส่งเอกสารต่างๆ เบิกเงินชดเชย โดยมีขั้นตอนดังนี้
กรณีผู้ป่วยใน (IPD) ที่ต้องนอนรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลเป็นเวลาต่อเนื่องกัน ไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง
กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน
พนักงานสามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลกรณีบาดเจ็บจากอุบัติเหตุฉุกเฉิน แบบผู้ป่วยนอก (OPD) ของโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง หรือ 72 ชั่งโมง นับตั้งแต่วันที่ ประสบอุบัติเหตุ และต้องสำรองจ่ายไปก่อน แล้วจึงนำเอกสารมารถเบิกเงินชดเชยค่ารักษาพยาบาล ตามเอกสาร และขั้นตอนดังต่อไปนี้